1

ข้อมูล นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์


เครื่องแช่ข้าวงอกกึ่งอัตโนมัติ
Array ( [0] => Array ( [0] => 42S22 [SQLSTATE] => 42S22 [1] => 207 [code] => 207 [2] => [Microsoft][ODBC Driver 11 for SQL Server][SQL Server]Invalid column name 'การพัฒนากลุ่มอาชีพ'. [message] => [Microsoft][ODBC Driver 11 for SQL Server][SQL Server]Invalid column name 'การพัฒนากลุ่มอาชีพ'. ) [1] => Array ( [0] => 42000 [SQLSTATE] => 42000 [1] => 16945 [code] => 16945 [2] => [Microsoft][ODBC Driver 11 for SQL Server][SQL Server]The cursor was not declared. [message] => [Microsoft][ODBC Driver 11 for SQL Server][SQL Server]The cursor was not declared. ) ) 1
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
ข้าวเป็นพืชที่สำคัญในการบริโภคสำหรับประชากรโลก โดยแหล่งผลิตข้าวที่สำคัญ ส่วนใหญ่อยู่ในแถบทวีปเอเชียซึ่งรวมถึงประเทศไทย เป็นสิ่งที่สร้างรายได้และสร้างเศรษฐกิจ ให้กับประเทศไทย แต่เนื่องจากประเทศไทยประสบปัญหาในเรื่องการส่งออกข้าว ซึ่งสาเหตุ มาจากการแข่งขันกลุ่มประเทศในเอเชีย ที่มีต้นทุนการส่งออกข้าวต่ำกว่าประเทศไทย ทำให้ประเทศไทยต้องปรับกลยุทธ์ในการแข่งขันการส่งออกโดยการแปรรูปผลผลิต ซึ่งหนึ่งในการแปรรูปคือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปข้าว โดยได้รับความนิยมบริโภคในกลุ่มคนรักสุขภาพ ทั้งในและต่างประเทศคือข้าวกล้องงอก ปัจจุบันมีผู้สนใจบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะข้าวกล้องงอกเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะว่ามีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ ต่อร่างกายหลายชนิด เช่น วิตามินอี บี1 บี2 บี6 แคลเซียม เหล็ก แมกนีเซียม และสารกาบา (กรดแกมมา อะมิโน บิวทีริก) ซึ่งสารกาบา จะทำหน้าที่รักษาระดับฮอร์โมนในร่างกายให้สม่ำเสมอ ช่วยรักษาสมดุลการสื่อสารระบบประสาทในสมองส่วนกลาง ลดความดันโลหิต ควบคุมระดับน้ำตาล การยับยั้งการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ลดคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด ลดอัตราเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดอีกทั้งช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้ ในการแปรรูปข้าวเปลือกธรรมดา เพื่อการบริโภคให้อยู่ในรูปข้าวกล้องงอกในรูปแบบชนิดผง สามารถเพิ่มมูลค่ามากขึ้นถึง 5 เท่า เป็นการสร้างรายได้เพิ่มขึ้นในเกษตรกร ปัจจุบันกลุ่มเกษตรที่ผลิต และแปรรูปข้าวกล้องงอกชนิดผงยังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก มีการรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นกลุ่มชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชน ในการผลิตข้าวกล้องงอกและการนำข้าวกล้องงอกมาแปรรูป แต่มีกำลังการผลิตไม่เพียงพอและความต้องการของตลาด กระบวนการเครื่องผลิตข้าวกล้องงอกตามวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้านผลิต ขั้นตอนแรกการแช่ข้าวเปลือกขั้นตอนนี้มีการมาทำความสะอาดแยกสิ่งเจือปนออกจะสังเกตสีของน้ำและกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ โดยจะเปลี่ยนน้ำทุก ๆ 3-6 ชั่วโมง ใช้เวลาการแช่ข้าวเปลือก 1 วัน ส่วนขั้นตอนการเพาะงอกการนำข้าวเปลือกที่แช่น้ำสะอาด จากนั้นเอาข้าวเปลือกบรรจุใส่กระสอบ เพื่อเพาะข้าวเปลือกให้งอก 1-2 วัน (ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ ถ้าอากาศร้อนประมาณ 1 วัน ถ้าอากาศเย็นประมาณ 2 วัน) ใช้เวลาการผลิต 3 วันก่อนนำข้าวไปนี่งในขั้นตอนต่อไป จากประเด็นดังกล่าวจึงเป็นที่มาการประดิษฐ์เครื่องแช่ข้าวงอกกึ่งอัตโนมัติในครั้งนี้ เพื่อการลดเวลาในการแช่ข้าวเปลือกก่อนนำไปนึ่ง การลดกลิ่นอันพึงประสงค์ และสิ่งสำคัญการลดต้นทุนการผลิตโดยเฉพาะค่าจ้างแรงงานในการผลิตและเครื่องยังสามารถนำไปใช้ในกลุ่มอุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารในเชิงพาณิชย์ ก่อนการสร้างเครื่องแช่ข้าวงอกได้ศึกษาเครื่องที่ประดิษฐ์มาแล้วและข้อมูลต่างๆ ในการสร้างเครื่องดังนี้
หัวหน้าโครงการ

ระบุผู้ร่วมโครงการภายใน

 

ระบุผู้ร่วมโครงการภายนอก

สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม
600000
2564
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม
21381
https://search.ipthailand.go.th/index2?q=JTdCJTIycSUyMiUzQSUyMiVFMCVCOSU4MCVFMCVCOCU4NCVFMCVCOCVBMyVFMCVCOCVCNyVFMCVCOSU4OCVFMCVCOCVBRCVFMCVCOCU4NyVFMCVCOSU4MSVFMCVCOCU4QSVFMCVCOSU4OCVFMCVCOCU4MiVFMCVCOSU4OSVFMCVCOCVCMiVFMCVCOCVBNyVFMCVCOCU4NyVFMCVCOCVBRCVFMCVCOCU4MSVFMCVCOCU4MSVFMCVCOCVCNiVFMCVCOSU4OCVFMCVCOCU4NyVFMCVCOCVBRCVFMCVCOCVCMSVFMCVCOCU5NSVFMCVCOSU4MiVFMCVCOCU5OSVFMCVCOCVBMSVFMCVCOCVCMSVFMCVCOCU5NSVFMCVCOCVCNCUyMiUyQyUyMmluZGV4JTIyJTNBJTIyZGlwX3NlYXJjaF8xX2VwdF8zJTIyJTJDJTIyZGlzcGxheSUyMiUzQSUyMmRpcF9zZWFyY2hfMV9lcHRfMyUyMiUyQyUyMmluZGV4X2NyZWF0ZSUyMiUzQSUyMmRpcF9zZWFyY2hfKiUyMiUyQyUyMmluJTIyJTNBMSUyQyUyMm9yZGVyJTIyJTNBJTIyX3Njb3JlJTJDZGVzYyUyMiUyQyUyMnR5cGUlMjIlM0ElMjJzZWFyY2hfYWxsX3NjcyUyMiUyQyUyMnR5cGVfbmFtZSUyMiUzQSUyMiVFMCVCOCVBRCVFMCVCOCU5OSVFMCVCOCVCOCVFMCVCOCVBQSVFMCVCOCVCNCVFMCVCOCU5NyVFMCVCOCU5OCVFMCVCOCVCNCVFMCVCOCU5QSVFMCVCOCVCMSVFMCVCOCU5NSVFMCVCOCVBMyUyMiUyQyUyMnRhYl9pbmRleCUyMiUzQSUyMmRpcF9zZWFyY2hfKiUyMiUyQyUyMmRmX2luZGV4JTIyJTNBJTIyZGlwX3NlYXJjaF8qJTIyJTJDJTIyYnVja2V0cyUyMiUzQSU1QiU3QiUyMmRvY19jb3VudCUyMiUzQTElMkMlMjJrZXklMjIlM0ElMjJkaXBfc2VhcmNoXzFfZXB0XzMlMjIlN0QlNUQlN0Q%3D
Connect Error (1045) Access denied for user 'root'@'202.29.55.102' (using password: YES)