1

ข้อมูล นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์


สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ (แบบกล่องพับ)
Array ( [0] => Array ( [0] => 42000 [SQLSTATE] => 42000 [1] => 102 [code] => 102 [2] => [Microsoft][ODBC Driver 11 for SQL Server][SQL Server]Incorrect syntax near '1'. [message] => [Microsoft][ODBC Driver 11 for SQL Server][SQL Server]Incorrect syntax near '1'. ) [1] => Array ( [0] => 01000 [SQLSTATE] => 01000 [1] => 16954 [code] => 16954 [2] => [Microsoft][ODBC Driver 11 for SQL Server][SQL Server]Executing SQL directly; no cursor. [message] => [Microsoft][ODBC Driver 11 for SQL Server][SQL Server]Executing SQL directly; no cursor. ) ) 1
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์
โครงการนาคาวิถี : การศึกษาเส้นทางการท่องเที่ยวตามรอยพญานาค (Naga Routes: The Study of Tourism Routes Retracing the Naga) ประเทศจีนถือเป็นประเทศที่มีแผนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ เป็นอันดับ 1 ของโลกจากการจัดอันดับของGlobal Soft Power Index 2022 ซึ่งมีแผนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยเน้นเรื่องการบริโภคในประเทศ , การค้าระหว่างประเทศ , การลงทุนในประเทศและการลงทุนจากต่างประเทศ FDI) ส่วน ประเทศไทยจัดอยู่ในอันดับที่ 35 จาก 120 ประเทศทั่วโลก ซึ่ง มีคะแนน 40.2 คะแนน โดยเพิ่มขึ้นจาก 38.7 คะแนน จากข้อมูลในปี 2021 และประเทศ ในแถบเอเชียประเทศไทยจัดอยู่อันดับที่ 6 รองจากจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ และอินเดีย จากตัวชี้วัดหลักทั้ง 7 ด้าน ซึ่งตัวชี้วัด Soft Power ที่ประเทศไทยได้คะแนนสูงคือธุรกิจและการค้า (Business and Trade) วัฒนธรรมและมรดก (Culture and Heritage) รวมถึงผู้คนและค่านิยม (People and Values) ที่สะท้อนจุดแข็งว่า ประเทศไทย มีต้นทุนวัฒนธรรมที่ชัดเจน (สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน ),2565) ความเชื่อในเครื่องรางของคลัง พิธีกรรม ถือเป็นความเชื่อดั้งเดิมที่อยู่กับสังคมไทยมาช้านาน มีหลากหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นเครื่องราง วัตถุมงคล สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ พระเครื่อง พระเกจิชื่อดังหรือแม้แต่การสักยันต์ รวมถึงความเชื่อดั้งเดิมที่เป็นของภูมิภาคเรื่องพญานาค ซึ่งเชื่อกันว่าช่วยดลบันดาลหรือสร้างความหวังให้กับคนที่นับถือบูชา ทั้งในเรื่องของเสน่ห์ เมตตามหานิยม ซึ่งในปัจจุบัน พบว่ามีการนำความเชื่อเหล่านี้มาปรับประยุกต์เพื่อสร้างรายได้ให้แก่วัดหรือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ตลอดจน สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้จำนวนมาก โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน ไม่ว่าจะเป็นจีนมาเลย์ จีนสิงคโปร์ จีนฮ่องกง จีนไต้หวัน และจีนแผ่นดินใหญ่ ให้เข้ามาท่องเที่ยยังประเทศไทย (ณัฐพงศ์ ดวงแก้ว, 2565) ความเชื่อของชาวไทยเกี่ยวกับพญานาค โดยส่วนใหญ่ เชื่อว่า พญานาคเป็นสัตว์กึ่งเทพ มีอิทธิฤทธิ์ ศักดานุภาพสามารถเนรมิตร่างกายเป็นมนุษย์ชายและหญิงได้ ทั้งยังมีความเชื่อว่าพญานาคนั้นเป็นสัญลักษณ์แห่ง สายน้ำ เป็นผู้พิทักษ์รักษาและเป็นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ในด้านการสร้างความสามัคคีปรองดอง สงบ สันติสุขในสังคม นอกจากนั้นพญานาคมีอิทธิพลในด้านต่างๆ (จิตรกร เอมพันธุ์ ,2545) คือ ด้านศิลปกรรม อิทธิพลความเชื่อเรื่องพญานาคกับงานศิลปกรรมจะมีปรากฏโดยทั่วไป โดยมีความเชื่อว่าพญานาคเป็นสัญลักษณ์ของความมีพลังอำนาจที่ยิ่งใหญ่ สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์ของท้องถิ่นนั้นๆ เมื่อพบเห็นแล้วทำให้จิตใจสงบร่มเย็น ด้วยเหตุดังกล่าว ได้เกิดการถ่ายทอดจากความเชื่อเข้าสู่งานศิลปกรรมไทยในแขนงต่างๆ เช่น สถาปัตยกรรมพญานาคเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ มีคตินิยมที่ว่าเป็นสัญลักษณ์ของความยิ่งใหญ่ ท้าให้ผู้พบเห็นได้รู้สึกสงบร่มเย็นท้าให้เกิด ความสุข (วิษณุ ยะโสภา, 2560) นอกจากนี้ยังมีการตีความทางพระพุทธศาสนาว่า รูปปั้นพญานาคที่บันไดพระอุ โบสถ เหมือนทำหน้าที่เป็นพาหนะข้ามทะเลแห่งวัฏสงสารและเทินพระวิหารเปรียบเสมือนเรือสำเภาทองที่จะนำมนุษย์ข้ามพ้นวัฎสงสารไปได้ (วิเชียร นามการ, 2554) โดยที่ประชุมคณะรัฐมนตรีโดยที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.)เห็นชอบให้นาคเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติเห็นชอบให้นาคเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ ประเภทสัตว์ในตำนานประเภทสัตว์ในตำนาน ซึ่งเป็นการซึ่งเป็นการประกาศในเชิงสัญลักษณ์ประกาศในเชิงสัญลักษณ์ เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และวัฒนธรรมของชาติเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของชาติ อีกทั้งยังเป็นการอีกทั้งยังเป็นการต่อยอดเป็นต่อยอดเป็น Soft Power ในการนำทุนวัฒนธรรมมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการนำทุนวัฒนธรรมมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและนำเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและนำรายได้เข้าประเทศรายได้เข้าประเทศ (Thai PBS, 2565) จังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดชายแดนที่มีอาณาเขตติดกับแม่น้ำโขงเป็นจังหวัดชายแดนที่มีอาณาเขตติดกับแม่น้ำโขง (สำนักงานจังหวัดนครพนมสำนักงานจังหวัดนครพนม, 2565) ซึ่งผู้คนซึ่งผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขง มีความเชื่อและนับถือศรัทธาพญานาคมีความเชื่อและนับถือศรัทธาพญานาค เห็นได้จากพญานาคได้ปรากฏในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เห็นได้จากพญานาคได้ปรากฏในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ผ่านสัญลักษณ์ต่างๆผ่านสัญลักษณ์ต่างๆ โดยพบได้จากงานสถาปัตยกรรมวัดวาอารามในพระพุทธศาสนาโดยพบได้จากงานสถาปัตยกรรมวัดวาอารามในพระพุทธศาสนา ซึ่งทุกวันนี้หนึ่งในศาสนสถานที่ซึ่งทุกวันนี้หนึ่งในศาสนสถานที่สำคัญมากในดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงอย่างสำคัญมากในดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงอย่าง ‘‘พระธาตุพนมพระธาตุพนม’’ ได้มีการจัดงานได้มีการจัดงาน ‘‘วันสัตตนาคารำลึกวันสัตตนาคารำลึก’’ เพื่อเป็นการถวายผลบุญเพื่อเป็นการถวายผลบุญแด่นาคเจ็ดตนที่ทำหน้าที่ปกปักรักษาพระธาตุแด่นาคเจ็ดตนที่ทำหน้าที่ปกปักรักษาพระธาตุ โดยในงานมีการจัดพานบายศรีใบตองเป็นรูปเศียรนาคอย่างวิจิตรสวยงามโดยในงานมีการจัดพานบายศรีใบตองเป็นรูปเศียรนาคอย่างวิจิตรสวยงาม และมีผู้คนและมีผู้คนมาร่วมงานอย่างล้นหลามมาร่วมงานอย่างล้นหลาม อันเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเชื่อเรื่องนาคที่ยังคงมีอิทธิพลต่อผู้คนในดินแดนอันเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเชื่อเรื่องนาคที่ยังคงมีอิทธิพลต่อผู้คนในดินแดนแถบนี้อย่างชัดเจนแถบนี้อย่างชัดเจน โดยแหล่งท่องเที่ยวหรือสถานที่สำคัญในจังหวัดนครพนมโดยแหล่งท่องเที่ยวหรือสถานที่สำคัญในจังหวัดนครพนม ได้แก่ ได้แก่ 1) พระธาตุพนมวรมหาวิหารพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลตำบลธาตุพนมธาตุพนม อำเภอธาตุพนมอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนมจังหวัดนครพนม 2) วัดพระธาตุเรณูวัดพระธาตุเรณู ตำบลเรณูตำบลเรณู อำเภอเรณูนครอำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนมจังหวัดนครพนม 3) วัดมรุกวัดมรุกขนครขนคร ตำบลดอนนางหงส์ตำบลดอนนางหงส์ อำเภอธาตุพนมอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนมจังหวัดนครพนม 4) องค์พญาศรีสัตตนาคราชองค์พญาศรีสัตตนาคราช ตำบลในเมืองตำบลในเมือง อำเภอเมืองอำเภอเมือง จังหวัดนครพนมจังหวัดนครพนม 5) วัดพระบาทเวินปลาวัดพระบาทเวินปลา ตำบลเวินพระบาทตำบลเวินพระบาท อำเภอท่าอุเทนอำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนมจังหวัดนครพนม 6) ถ้ำนาคีถ้ำนาคี อุทยานอุทยานแห่งชาติภูลังกาแห่งชาติภูลังกา ตำบลไผ่ล้อมตำบลไผ่ล้อม อำเภอบ้านแพงอำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนมจังหวัดนครพนม ซึ่งหากนักท่องเที่ยวเดินทางมาถึงดินแดนภาคอีสานซึ่งหากนักท่องเที่ยวเดินทางมาถึงดินแดนภาคอีสาน ณณ จังหวัดนครพนมจังหวัดนครพนม แล้วไม่เดินทางมากราบไหว้พญานาคตามเส้นทางดังกล่าวจึงถือว่ามาไม่ถึงแล้วไม่เดินทางมากราบไหว้พญานาคตามเส้นทางดังกล่าวจึงถือว่ามาไม่ถึง จากข้อมูลข้างต้นจากข้อมูลข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาประวัติ เรื่องเล่า ในความเชื่อพญานาคแห่งลุ่มน้ำโขง เพื่อประวัติ เรื่องเล่า ในความเชื่อพญานาคแห่งลุ่มน้ำโขง เพื่อนำมาสู่การสร้างนำมาสู่การสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวตามรอยพญานาคเส้นทางการท่องเที่ยวตามรอยพญานาค โดยได้นำแนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้โดยได้นำแนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้องค์ความรู้ การศึกษาการศึกษา การสร้างสรรค์งานการสร้างสรรค์งาน และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาและการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม รวมถึงรวมถึงการสั่งสมความรู้ของสังคมเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์และแนวทางในการจัดเส้นทางการท่องเที่ยวตามรอยการสั่งสมความรู้ของสังคมเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์และแนวทางในการจัดเส้นทางการท่องเที่ยวตามรอยพญานาคในจังหวัดนครพนมพญานาคในจังหวัดนครพนม
ผู้ร่วมโครงการ

ระบุผู้ร่วมโครงการภายใน

 

ระบุผู้ร่วมโครงการภายนอก

สกสว.
90000
2567
2402002124
Connect Error (1045) Access denied for user 'root'@'202.29.55.102' (using password: YES)