1

ข้อมูล นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์


สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ (กระเป๋า)
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์
โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ตามที่รัฐบาล มีแผนงานในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่มุ่งเน้นการรักษาระดับการจ้างงานของผู้ประกอบการและกระตุ้นศรษฐกิจของประเทศ ประกอบ กับที่รัฐบาลได้กำหนดให้เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Economy) เป็นยุทธศาสตร์ชาติในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว. เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ BCG Economy เนื่องจาก กระทรวง อว. มีความพร้อมด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ มีองค์ความรู้ เทคโนโลยีและ นวัฒกรรม ซึ่งได้ดำเนิน "โดรงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG" เป็น การต่อยอดการดำเนินการจาก "โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ" โดยจะใช้ ข้อมูล Thailand Community Big Data (TCD) ที่ได้ดำเนินการมาใน "โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม รายตำบลแบบบูรณาการ" ที่บ่งบอกถึงศักยภาพและความพร้องของหรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลายทางวัฒนธรรมของพื้นที่ที่จะนำมาใช้ในการพัฒนารายพื้นที่ด้วยยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ BCG รวมถึงการเพิ่มและรักษาระดับการจ้างงานบัณฑิตและประชาชนในพื้นที่ จึงได้มีนบายในการดำเนิน "โครงการชับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG and Regional Development)" ซึ่งเป็นการดำเนินการเพื่อหัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ด้วยเศรษฐกิจ BCG ในพื้นที่ 7,435 ตำบล ครอบคลุม 77 จังหวัดทั่วประเทศ ดำเนินการ 3 เตือน ระหว่างเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2565 เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการ จำนวน 14,870 ผลิตภัณฑ์หรือบริการ เกิด การจ้างงาน จำนวน 68,350 อัตรา และเกิดข้อมูลขนาดใหญ่ TCD จำนวน 3,717,500 ข้อมูล ครอบคลุมทุก พื้นที่ตำบลในประเทศไทย โดยใช้มหาวิทยาลัยที่อยู่ในพื้นที่ ที่มีองค์ความรู้จากงานวิจัยและนวัตกรรมของ อาจารย์และนักวิจัยเป็นหน่วยในการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่ ซึ่งครอบคลุมการดำเนินงานทั่วประเทศ มหาวิทยาลัยนครหนม ได้รับมอบหมายจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว. ให้ดำเนินการโครงการ U2T for BCG จำนวน 111 ตำบล ในพื้นที่ 3 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัด นครพนม จำนวน 94 ตำบล จังหวัดมุกดาหาร 11 ตำบล และจังหวัดบึงกาฬ จำนวน 6 ตำบล เกิดการจ้างงาน ในพื้นที่ 1,050 อัตรา เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการในพื้นที่ 222 รายการ ทั้งสาขาการเกษตร สาขาอาหาร สายาพลังงาน วัสดุ และเคมีชีวภาพ สาขาสุขภาพและเครื่องมือแหทย์ สาขาท่องเที่ยวและ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สาขาเศรษฐกิจหมุนเวียน และยังมีการจัดเก็บข้อมูล TCD สูงถึง 60,580 ข้อมูล โดยการพัฒนาในพื้นที่ถือได้ว่าเป็นการยกระดับเสรษฐกิจฐานรากด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศษสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม ตามนโยบายการขับเคลื่อนประเทศด้วย BCG สำนักปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิหยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แจ้งมติคณะรัฐมนตรีนคราว ประชุมเมื่อวันที่ 22 พฤศจิตายน 2565 ได้มีมติรับทราบรายงานความคืบหน้าโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ สังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG และการขยายระยะเวลาดำเนินการโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG จาก 3 เดือน (1 กรกฎาคม - 30 กันยายน 2565) เป็น 9 เดือน (1 กรกฎาคม 2565 - 31 มีนาคม 2566) โดยสามารถงบประมาณเหลือจ่ายของโครงการๆ งกล่าว มาดำเนินการขยายผลในส่วนของกิจกรรมที่จำเป็นที่ต้องดำเนินการภายหลังจากได้ผลลัพธ์จากการดำเนินการ ในระยะเวลา 3 เตือน (1 กรกฎาคม - 30 กันยายน 2565) งบประมาณเพิ่มเติม ในกิจกรรม 1) การจัดทำ Thailand Comrnunity Big Data (TCD) และการวิเคราะห์ข้อมูล และ 2) ส่งเสริมและผลักดันสินค้าและ บริการออกสู่ตลาดผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับตำบล
ผู้ร่วมโครงการ

ระบุผู้ร่วมโครงการภายใน

 

ระบุผู้ร่วมโครงการภายนอก

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
820000
2566
2402003341
Connect Error (1045) Access denied for user 'root'@'202.29.55.102' (using password: YES)